เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลและ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็น
อัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 ทำขันธ์ 1 ที่เป็น
กุศลและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 1 ทำขันธ์ 3 และหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 2 ทำขันธ์ 2 และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (3)
[247] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 ทำขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศลและ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 1 ทำขันธ์ 3 และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ 2 ทำขันธ์ 2 และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่
เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 ทำขันธ์ 1 ที่
เป็นอกุศลและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 1 ทำขันธ์ 3 และหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 2 ทำขันธ์ 2 และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (3)

อารัมมณปัจจัย
[248] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 ทำขันธ์ 1 ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 1
ทำขันธ์ 3 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ 2 ทำขันธ์ 2 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :133 }